Rabbit in the Moon ลงทะเบียนใหม่สำหรับเข้าเว็บไซต์   |   เข้าสู่ระบบ English
หน้าแรก รู้จักเรา โครงการ กิจกรรม เรื่องราวธรรมชาติ กระดานดำ ร่วมมือกัน   ติดต่อเรา
 
ร้านมูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์ กระต่ายในดวงจันทร์
ทีวีสินแร่จิ๋วแต่แจ๋ว
31 มกราคม 2553
กิจกรรมพูดคุยกับคุณสุภาพ ดีรัตนา (คุณติ๋ม) สถานที่: โรงแรมพระนครนอนเล่น และวัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพฯ
แก่นสาระ (จุดประสงค์): เรียนรู้ประเด็นการท่องเที่ยว: ที่มาและความเป็นไปของคำว่า “การท่องเที่ยว” ผลกระทบของการท่องเที่ยว และรูปแบบการท่องเที่ยวในปัจจุบัน
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
นายจิรัชย์ ไพบูลย์วงศ์เจริญ (เต้) สาขาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ปี4) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นายภควัต ทวีปวรเดช (เต่า) สาขาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี3) มหาวิทยาลัยมหิดล น.ส.สุทธิพร เรืองฤทธิศักดิ์ (แม้ว) สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (ปี2) พระจอมเกล้าพระนครเหนือ น.ส.นันทพร สุทธิพงษ์ไกวัล (ป่าน) สาขาBBA in hotel management คณะวิทยาลัยนานาชาติ (ปี2) มหาวิทยาลัยศิลปากร น.ส.ธนาลัย พูลศิริ (หยิน) สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี2) มหาวิทยาลัยมหิดล น.ส.ชรินรัตน์ ขุนขำ (จูน) สาขานิเทศศาสตร์ เอกวารสารและหนังสือพิมพ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ปี3) มหาวิทยาลัยศิลปากร
น.ส.ธันธิมา สุวรรณถาวรกุล (เน็ท) คณะเภสัชศาสตร์ (ปี3) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น.ส.พรพิมพ์ แซ่ลิ้ม (จิ๋ง) สาขานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ (ปี2) มหาวิทยาลัยรามคำแหง น.ส.สิรวดี ภควลีธร (กี้) ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร (ปี4) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ น.ส. สุภัชญา เตชะชูเชิด (แอน) สาขาชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี2) มหาวิทยาลัยมหิดล น.ส.สิรินภรณ์ แสนสมบัติ (แป้ง) สาขาบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี (ปี4) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นายณัฐวัฒน์ ธีระเลิศธรรม (ท๊อป) international studies-Relation, Social Science (ปี3) Mahidol University International College    


เหตุการณ์/กิจกรรมที่เกิดขึ้น

คุณติ๋มเล่าจุดเริ่มต้นของการท่องเที่ยวตั้งแต่สังคมของการเร่ร่อนตามฝูงสัตว์ รูปแบบการเดินทางในอดีตการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงสังคม เกิดการท่องเที่ยวในลักษณะพักผ่อนจากการทำงาน การเดินทางของชาวอังกฤษที่เดินทางไปเมืองตูร์ (Tours) ในประเทศฝรั่งเศสเพื่อสักการะนักบุญมาร์ติน จากคำว่า ตูร์ จึงกลายมาเป็นคำว่า ทัวร์ จากนั้นการท่องเที่ยวไม่ได้มีเพื่อเดินทางไปแสวงบุญอีกต่อไป กลายมาเป็นการท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อน ทำให้คำว่า travel กับ tourist มีความหมายที่ต่างกันออกไป
จากนั้นคุณติ๋มเล่าถึงผลกระทบจากการท่องเที่ยวในประเทศต่างๆทั่วโลกให้ฟัง โดยใช้ประเทศสเปนเป็นตัวอย่าง และคุณติ๋มยังเล่าถึงการท่องเที่ยวทางเลือก (tourism alternative) ที่นักท่องเที่ยวสามารถเลือกรูปแบบการท่องเที่ยวของตัวเองได้ เช่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Ecotourism) การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (agro tourism)  หรือการต่อต้านการท่องเที่ยวในลักษณะที่ทำลายธรรมชาติ นอกจากนี้คุณติ๋มยังอธิบายถึงรูปแบบการนักท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เช่น  gapper volutourism เป็นต้น
ตอนบ่ายเราเดินทางไปวัดสุทัศน์ด้วยรถราง เส้นทางสำคัญที่รถรางวิ่งคือ จากบริเวณหน้าท่าช้าง ตรงไปยังเสาชิงช้าซึ่งเป็นเส้นทางชักพระศรีศากยมุณีไปประดิษฐานที่วัดสุทัศน์ คุณติ๋มพาพวกเราไปนั่งในอุโบสถของวัด เล่าเรื่องราวต่างๆให้ฟังอย่างน่าสนใจมาก อาทิ ชี้ให้ดูภาพวาดผนังอุโบสถที่ปรากฏรูปพระเยซูกำลังล้างพระบาท หรือรูปเรือใบที่แสดงให้เห็นว่าในช่วงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 มีสัมพันธไมตรีกับชาวต่างประเทศ จากนั้นคุณติ๋มพาเข้าไปในพระวิหารที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุณี พาอ้อมไปดูด้านหลังของพระพุทธรูปที่มีเรื่องราวของสวรรค์ โลกมนุษย์และนรก
จากนั้นเดินทางกลับโรงแรมพระนครนอนเล่นเพื่อสรุปกิจกรรมของวันนี้


ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

1. น.ส.ธนันดา เทพสิงห์ (แก้ว) สาขานิเทศศาสตร์ เอกวิทยุและโทรทัศน์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ปี3) มหาวิทยาลัยศิลปากร

2. นายจิรัชย์ ไพบูลย์วงศ์เจริญ (เต้) สาขาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ปี4) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
3. นายภควัต ทวีปวรเดช (เต่า) สาขาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี3) มหาวิทยาลัยมหิดล
4. น.ส.สุทธิพร เรืองฤทธิศักดิ์ (แม้ว) สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (ปี2) พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
5. น.ส.นันทพร สุทธิพงษ์ไกวัล (ป่าน) สาขาBBA in hotel management คณะวิทยาลัยนานาชาติ (ปี2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
6. นายณัฐดนัย บุตรา(ฟีน) สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และระบบคอมพิวเตอร์ ภาควิชาไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปี2) มหาวิทยาลัยศิลปากร
7. นายโชคนิธิ คงชุ่ม (เก่ง) สาขาชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี2) มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี
8. น.ส.ธนาลัย พูลศิริ (หยิน) สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี2) มหาวิทยาลัยมหิดล
9. น.ส.ชรินรัตน์ ขุนขำ (จูน) สาขานิเทศศาสตร์ เอกวารสารและหนังสือพิมพ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ปี3) มหาวิทยาลัยศิลปากร
10. น.ส.ธันธิมา สุวรรณถาวรกุล (เน็ท) คณะเภสัชศาสตร์ (ปี3) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11. น.ส.พรพิมพ์ แซ่ลิ้ม (จิ๋ง) สาขานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ (ปี2) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
12. น.ส.สิรวดี ภควลีธร (กี้) ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร (ปี4) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
13. น.ส.ประภาพัชร ชุณหวรากรณ์ (บับเบิ้ล) สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี2) พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
14. น.ส. สุภัชญา เตชะชูเชิด (แอน) สาขาชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ (ปี2) มหาวิทยาลัยมหิดล
15. น.ส.สิรินภรณ์ แสนสมบัติ (แป้ง) สาขาบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี (ปี4) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
16. นายปฐวี อินทรอภัยพงษ์ (ดรีม) เอกศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ (ปี2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
17. น.ส.ปรียาภรณ์ ไทยศรีวงศ์ (แบงค์) สาขาการโค้ชกีฬาและจิตวิทยาการกีฬา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา (ปี4) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
18. นายนัฐพล พงศ์นราทิพย์ (ต๊อบ) สาขาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ปี4) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
19. นายเจษฎา อิงอมรรัตน์ (โฟน) สาขาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ปี4) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
20. น.ส.วรรณวลัย ชอบอิสระ (นิว) คณะทันตแพทยศาสตร์ (ปี2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
21. น.ส.วรรณเพ็ญ แซ่เปี่ยน (ฟาง) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสาตร์ (ปี3) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
22. นายปิติบดี ระวียันต์ (บอล) สาขาทัศนศิลป์ - ศิลปะจินตคณะศิลปกรรมศาสตร์ (ปี4) มศว.
23. น.ส.ปัทมปาณี สมัครการ (ดิว) ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ (ปี2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
24. นายณัฐวัฒน์ ธีระเลิศธรรม (ท๊อป) international studies-Relation, Social Science (ปี3) Mahidol University International College
25. นายไชยวิทย์ ดาราประดิษฐ์ (วิทย์) สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี (ปี3) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย





Rabbitinthemoon.org | มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์